วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8 ประจำวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 2557 (เรียนชดเชยวันปิยะมหาราช) หมายเหตุ* คัดลอกมาจากนางสาว ปรางชมพู บุญชม *

 บันทึกการเรียน ครั้งที่ 8
                                    ประจำวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 2557




อาจารย์ให้ทบทวนเพลงเดิมๆที่ผ่านมา 















             อาจารย์ให้เลือกเพลงมา 1 เพลงแล้วออกไปร้องหน้าห้องให้ครูและเพื่อนๆฟัง


  (**คัดลอกมาจาก นางสาว ปรางชมพู บุญชม**)

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม 2557

บันทึกการเรียน

- แบ่งกลุ่มละ8 คนเป็น6 กลุ่ม เพื่อทำนิทาน 1 เรื่อง กลุ่มละ 1 ประโยค
- การแบ่งกลุ่มโดยการจับกลุ่มตามสิ่งที่คุณครูพูด เช่น จับกลุ่มตามจำนวนขาของสุนัข จับกลุ่มตามจำนวนของล้อรถต่างๆ

จากการเรียนและทำกิจกรรมมาสิ่งที่ได้คือ - เกิดความสนุกสนาน
                                                                          - เกิดสังคมใหม่ๆจากการจับกลุ่ม
                                                                          - เกิดความคิดสร้างสรรค์ตามโจทย์ที่คุณครูให้
                                           


ภาพประกอบกิจกรรม



การร้องเพลงทักทายกันเป็นภาษาอาเซียน



การทำนิทานร่วมกัน






บันทึกการเรียนครั้งที่ 6 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม 2557

บันทึกการเรียน

- ทำชาร์จเพลงโดยการเลือกเพลงจากจำนวนเพลงที่คุณครูให้มา

-การสอนเด็กร้องเพลง
1. เด็กนั่งตรงไหนก็ควรนั่งให้เสมอกับเด็กไม่สูงหรือต่ำกว่าเกินไป
2. ควรมีไม้ชี้ตาเนื้อเพลงหรือคำที่อ่านออกเสียง
3. ครั้งแรกควรอ่านให้เด็กฟังก่อนจากนั้นค่อยให้เด็กอ่านตาม
4. อ่านและชี้ไปพร้อมกับที่เด็กๆออกเสียง
5.เริ่มใส่ทำนองและร้องเป็นเพลงไปพร้อมเด็กๆ

ภาพประกอบกิจกรรม




ลงมือเขียนและระบายสีตกแต่งชาร์จเพลง


สมาชิกภายในกลุ่ม

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน 2557

บันทึกการเรียน

แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา

- ภาษาสะท้อนปรัชญาและความเชื่อเกี่ยวกับเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้แตกต่างกัน

1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา

  - รู้ความหมายของไวยกรณ์ เสียง การประกอบคำเป็นวลีหรือประโยค
2. มุมองทางด้านหน้าที่ของภาษา
  - ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
  - การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
4. การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา
  - รู้จักคำย่อยๆของภาษา
  - การประสมคำ
  - ความหมายของคำ
  - การสะกดคำ การเขียน

ภาษาธรรมชาติ (Whole Language)


ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

 - Piaget
 - Vygostsky
 - Dewey
 - Haliday

1. หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

  - การจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
  - สื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
3. การเป็นแบบอย่าง
4. การตั้งความหวัง
5. การคาดคะเน
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7. การยอมรับนับถือ
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น

กิจกรรมในห้องเรียนวันนี้คือจับกลุ่มทำ Mapping เรื่อง ภาษาธรรมชาติ




ภาพประกอบกิจกรรม













แบ่งกลุ่มทำ Mapping เรื่อง ภาษาของธรรมชาติ










ร้องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย 10 เพลง 




สิ่งที่ได้จากการเรียน


1.หลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

2.ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก

3.รู้ความหมายของไวยากรณ์ เสียง การประกอบคำเป็นวลีหรือเป็นประโยค

4.การจัดประสบการณ์ที่เน้นภาษาเป็นสำคัญ 

5.ภาษากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก

วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน 2557

บันทึกการเรียน
- การฟัง คือ การรับรู้จากเสียงที่ได้ยิน และสามารถตีความ จับความหมาย ที่ได้ยินเสียงขึ้นอยู่กับสติปัญญา
การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาอาการ  เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึคิด  ความรู้  ประสบการณ์  ตลอดจนความต้องการของผู้พูดให้ผู้ฟังได้รับรู้ และเกิดการตอบสนอง    
เด็กอนุบาล พูดติดอ่าง ย้ำคำพูดตัวเอง
- เด็กอนุบาล 2 พูดประโยคสั้นๆ
- เด็กอนุบาล 3 จะพูดเป็นประโยคที่สมบูรณ์
- การอ่าน คือ การรับรู้ความหมายของคำ  สัญลักษณ์  ความรู้  ความคิด  ความรู้สึกและจินตนาการของผู้เขียน  การอ่านของเด็กเริ่มตั้งแต่วัย ทารก ก่อน 10 เดือน  เด็กเริ่มปรับหน่วยเสียง วัยกระเตาะแตก 1-2 ปี
- ส่งเสริมการอ่าน
               - นิทาน
                - กลอน
                - ร้องเพลง
- การเขียน คือ การเขียนถ่ายทอดเรื่องราวความคิดออกมาอย่างมีความหมายการเขียน แบ่งออก2อย่าง
 -  อายุ 2 - 4 ปี เขียนแบบสะเปะสะปะ
อายุ 4 - 7 ปี เริ่มเขียนถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้น
- การพัฒนาการเขียน
- อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
   - มือ
   - ตา
   - สติปัญญา
   - สิ่งแวดล้อม
- กิจกรรมที่ส่งเสริมการเขียน
   - กิจกรรมภายในครอบครัว
   - กิจกรรมจากที่โรงเรียน

ภาพประกอบกิจกรรม







นำเสนองานในหัวข้อ ฟัง พูด อ่าน เขียน ของกลุ่ม 101,102